Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  การผลิตเมล็ดพันธุ์พืชตระกูลถั่ว พืชบำรุงดิน และพืชอาหารสัตว์ในสวนยางพาราสร้างใหม่: รายงานการวิจัย
Productions of legume, green manual and forage crops seed in new rubber plantation: Research report
Autores:  Suwat Boonchan
Boonmee Siri
Krailert Taweekul
Chaisri Chotrungroj
Data:  2015-05-20
Ano:  2011
Palavras-chave:  Legume crops
Stalkless yard long bean
Cowpea
Soybean
Seed production
Rubber plantation
Intercrooping
Khon Kaen province
พืชตระกูลถั่ว
ถั่วฝักยาวไร้ค้าง
ถั่วพุ่มเอนกประสงค์
ถั่วเหลือง
การผลิตเมล็ดพันธุ์
สวนยางพารา
การปลูกพืชแซม
จ.ขอนแก่น
Resumo:  The objective of this experiment was to investigate the advantages of seed production of three legume crops, stalkless yard long bean, cowpea and soybean; as intercropping in new rubber plantation. Each legume crop was planted 2 rai. Soil analysis was conducted before and after planting the intercropping legumes. Growths of rubber plants with and without intercropping were monitored monthly until harvesting legume. The result found that the legumes as intercropping in new rubber plantation improved organic matters and nitrogen level in soil, whereas rubber plant decreased soil acidity. Also, the legumes increased growth of rubber plant including height, diameter, circumference, and number of leaf. Moreover, the rubber plant farmer gained more profit from seed production upto 2,000 – 5,000 baht per rai.

การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อผลิตเมล็ดพันธุ์ในสวนยางพาราสร้างใหม่ ได้ทำการทดลองพื้นที่ต่างๆ ในเขตอำเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น โดยปลูกพืชตระกูลถั่ว 3 ชนิด คือ ถั่วฝักยาวไร้ค้าง ถั่วพุ่มเอนกประสงค์ และถั่วเหลือง ลงในสวนยางพาราสร้างใหม่ ปลูกพืชชนิดละ 2 ไร่ บันทึกข้อมูล การวิเคราะห์ดินก่อนและหลังการปลูกพืชแซม การเจริญเติบโตของยางพารา โดยการวัดความสูง จำนวนชั้นของใบ เส้นผ่านศูนย์กลาง และเส้นรอบวง ทุกๆ เดือน ระหว่างแปลงที่ปลูกยางพาราอย่างเดียว และยางพาราที่ปลูกพืชตระกูลถั่วแซมลงในแถวยาง จนถึงระยะเก็บเกี่ยวพืชที่ปลูกแซม จากการทดลองพบว่า ดินที่ปลูกพืชตระกูลถั่วแซมลงในแถวยางพารา มีอินทรียวัตถุ และปริมาณธาตุไนโตรเจนเพิ่มขึ้น การปลูกยางทำให้ความเป็นกรดของดินน้อยลง แปลงที่ปลูกพืชแซมยางพารามีการเจริญเติบโตทางด้านความสูง จำนวนชั้นของใบ เส้นผ่านศูนย์กลาง และเส้นรอบวงของต้น เพิ่มมากขึ้นกว่าการปลูกยางพาราเพียงอย่างเดียว นอกจากนี้การปลูกพืชแซมในแถวยางเพื่อผลิตเมล็ดพันธุ์ยังทำให้เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น 2,000-5,000 บาทต่อไร่
Tipo:  PhysicalObject
Idioma:  Thailandês
Identificador:  http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5718
Formato:  26 p.
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสารนี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional